www.mememejung.blogspot.com
www.tiruk15.blogspot.com
www.Jukduy.blogspot.com
www.nittaya13.blogspot.com
www.nutsba.blogspot.com
www.Patama13.blogspot.com
www.newyear7134.blogspot.com
www.Dajung2010.blogspot.com
www.poopae555.blogspot.com
http://www.zoo-ruk.blogspot.com/
www.korhyper52.blogspot.com
www.praputson2.blogspot.com
www.Namtho999.blogspot.com
www.Santan9899.blogspot.com
www.Swlkksanpui.blogspot.com
www.apisit-loveyou.blogspot.com
www.Koonstitchclub.blogspot.com
www.Thaicok.blogspot.com
www.Tangtonnalove.blogspot.com
www.Pimpakk486.blogspot.com
www.petchai222.blogspot.com
www.kimhyonjung.blogspot.com
www.surut16.blogspot.com
www.forgetmenot_fernway.blogspot.com
www.sorry-lin.blogspot.com
www.Mintra-abnormal.blogspot.com
www.DowandMok.blogspot.com
www.Cheesekra.blogspot.com
www.AE andtama.blogspot.com
www.pigred.blogspot.com
http://www.piew88.blogspot.com/
www.tukinpo.blogspot.com
www.Toulex5.blogspot.com
www.loypila.blogspot.com
www.kapook16.blogspot.com
www.Mayrrhung.blogspot.com
www.Bigbody11.blogspot.com
วันพฤหัสบดีที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2553
ข่า
ข่าเป็นไม้ล้มลุกที่มีอายุยืนนานหลายปี ลำต้นลงหัวอยู่ใต้ดิน ลักษณะภายนอกของลำต้นมีข้อ และปล้องเห็นได้ชัดเจน อยู่ใต้ดิน ส่วนที่เหนือดิน จะเป็นก้านและใบ สูงประมาณ 1-2 เมตร พืชชนิดนี้จะเป็นที่รู้จักกัน เป็นอย่างดี เพราะได้มีการนำมาใช้ประโยชน์ ในการปรุงอาหารรับประทาน
ข่า : (Kha), Galingale, Galanga
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Alpinia galanga Swartz
วงศ์ : ZINGIBERACEAE
ชื่ออื่นๆ : ข่าหยวก ข่าหลวง (ภาคเหนือ) , กฏุกกโรหินี (ภาคกลาง)
ถิ่นกำเนิด : อินเดีย พม่า ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ บอร์เนียว อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
ข่าเป็นพืชล้มลุกที่มีลำต้นเป็นกอ มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เหง้ามีสีน้ำตาลอมแสดมีเส้นแบ่งข้อช่วงสั้นๆ เนื้อในเหง้ามีสีขาวรสขมเผ็ดร้อน แต่ไม่เผ็ดเหมือนกับขิง มักมีกลิ่นหอมฉุน ข่าเป็นพืชใบเดี่ยว ใบยาวปลายใบมนขอบใบเรียบ ก้านใบยาวเป็นกาบหุ้มซ้อนกัน ดอกเป็นช่อสีขาวนวล ผลกลมสีแดงส้มมีรสเผ็ดร้อน
เหง้าสดมีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งประกอบด้วยสารเมททิล-ซินนาเมต ซีนีออล การบูร และยูจีนอล
สรรพคุณ
1. ใช้เหง้าสดตำให้ละเอียดผสมกับน้ำปูนใส รับประทานครั้งละครึ่งแก้วช่วยขับลมแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ท้องเดินและบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
2. ใช้รักษาโรคผิวหนัง กลาก เกลื้อนและแก้ลมพิษ โดยใช้เหง้าสดตำให้ละเอียดผสมกับเหล้าขาวทาบริเวณที่เป็นบ่อยๆจนกว่าจะดีขึ้น
3. สารสกัดจากข่านำมาประกอบเป็นยารักษาโรคได้หลายชนิด เช่น ยารักษาแผลสด แก้โรคปวดบวมตามข้อ แก้โรคหลอดลมอักเสบ ยาธาตุและยาขับลม
4. ใช้ไล่แมลงโดยนำเหง้ามาทุบหรือตำให้ละเอียดเพื่อให้น้ำมันหอมระเหยออกมา แล้วนำไปวางในบริเวณที่มีแมลง
5. ผลข่ามีสรรพคุณคล้ายกับเหง้าคือ ใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง ท้องร่วง ฆ่าเชื้อบิด และช่วยย่อยอาหาร ผงจากผลแห้งสามารถรักษาอาการปวดฟันได้ โดยนำไปบดและทาบริเวณที่ปวด
ข่า : (Kha), Galingale, Galanga
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Alpinia galanga Swartz
วงศ์ : ZINGIBERACEAE
ชื่ออื่นๆ : ข่าหยวก ข่าหลวง (ภาคเหนือ) , กฏุกกโรหินี (ภาคกลาง)
ถิ่นกำเนิด : อินเดีย พม่า ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ บอร์เนียว อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
ข่าเป็นพืชล้มลุกที่มีลำต้นเป็นกอ มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เหง้ามีสีน้ำตาลอมแสดมีเส้นแบ่งข้อช่วงสั้นๆ เนื้อในเหง้ามีสีขาวรสขมเผ็ดร้อน แต่ไม่เผ็ดเหมือนกับขิง มักมีกลิ่นหอมฉุน ข่าเป็นพืชใบเดี่ยว ใบยาวปลายใบมนขอบใบเรียบ ก้านใบยาวเป็นกาบหุ้มซ้อนกัน ดอกเป็นช่อสีขาวนวล ผลกลมสีแดงส้มมีรสเผ็ดร้อน
เหง้าสดมีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งประกอบด้วยสารเมททิล-ซินนาเมต ซีนีออล การบูร และยูจีนอล
สรรพคุณ
1. ใช้เหง้าสดตำให้ละเอียดผสมกับน้ำปูนใส รับประทานครั้งละครึ่งแก้วช่วยขับลมแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ท้องเดินและบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
2. ใช้รักษาโรคผิวหนัง กลาก เกลื้อนและแก้ลมพิษ โดยใช้เหง้าสดตำให้ละเอียดผสมกับเหล้าขาวทาบริเวณที่เป็นบ่อยๆจนกว่าจะดีขึ้น
3. สารสกัดจากข่านำมาประกอบเป็นยารักษาโรคได้หลายชนิด เช่น ยารักษาแผลสด แก้โรคปวดบวมตามข้อ แก้โรคหลอดลมอักเสบ ยาธาตุและยาขับลม
4. ใช้ไล่แมลงโดยนำเหง้ามาทุบหรือตำให้ละเอียดเพื่อให้น้ำมันหอมระเหยออกมา แล้วนำไปวางในบริเวณที่มีแมลง
5. ผลข่ามีสรรพคุณคล้ายกับเหง้าคือ ใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง ท้องร่วง ฆ่าเชื้อบิด และช่วยย่อยอาหาร ผงจากผลแห้งสามารถรักษาอาการปวดฟันได้ โดยนำไปบดและทาบริเวณที่ปวด
ใบย่านาง
ชื่อ : ใบย่านาง
ชื่อสามัญ : Bai-ya-nang
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tiliacora triandra Diels
วงศ์ : MENISOERMACEAE
หากใครเป็นคออาหารอีสานรสแซบแล้วละก็ เป็นต้องคุ้นกับกลิ่นใบย่านางที่เคล้ามากับซุบหน่อไม้และแกงหน่อไม้ที่หอมยั่วน้ำลาย
ใครบางคนว่ากลิ่นใบย่านางนั้นหอมแต่บางคนก็ว่าฉุนทั้งนี้และทั้งนั้นก็อาจเป็นเพราะขึ้นอยู่กับรสนิยมของคนกินด้วยว่ากลิ่นที่ว่านี้จะถูกกันหรือไม่ แต่หากว่าแกงกับซุบหน่อไม้ไร้ซึ่งน้ำคั้นจากใบย่านางก็เห็นทีจะไม่เป็นซุบหรือแกงที่รสชาติแซบนัว (แปลว่าอร่อยแบบกลมกล่อม – ภาษาอีสาน) เพราะกลิ่นเปรี้ยวกลิ่นขื่นและรสขมของหน่อไม้ทีดองก่อนนำมาทำอาหาร
น้ำคั้นสีเขียวคล้ำหรือเกือบดำของใบย่านางคือเครื่องปรุงรสปรุงกลิ่นที่สามารถสยบกลิ่นเปรี้ยวของหน่อไม้ แต่ถึงแม้ใครต่อใครจะชอบอาหารอีสานอย่างซุบหน่อไม้ก็ใช่ว่าจะรู้จักใบย่านาง บางคนไม่ทราบว่าน้ำที่ปนมากับซุบหน่อไม้สีคล้ำ ๆ นั้นละคือน้ำใบย่านาง เพราะใบย่านางไม่ใช่พืชผักที่แพร่หลายมากนัก มักกินกันแต่ตามต่างจังหวัดบางที่บางแห่ง เมืองกรุงนั้นหารับประทานสดนั้นยากอยู่เหมือนกัน จึงควรทำความรู้จักกันไว้ เพราะย่านางคือตัวการที่ทำให้อาหารอร่อยแบบลึกลับเหมือนน้ำคั้นสีคล้ำที่แค่เพียงดูก็ไม่รู้เลยว่าจะทำให้อร่อยได้อย่างไร
ชื่อสามัญ : Bai-ya-nang
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tiliacora triandra Diels
วงศ์ : MENISOERMACEAE
หากใครเป็นคออาหารอีสานรสแซบแล้วละก็ เป็นต้องคุ้นกับกลิ่นใบย่านางที่เคล้ามากับซุบหน่อไม้และแกงหน่อไม้ที่หอมยั่วน้ำลาย
ใครบางคนว่ากลิ่นใบย่านางนั้นหอมแต่บางคนก็ว่าฉุนทั้งนี้และทั้งนั้นก็อาจเป็นเพราะขึ้นอยู่กับรสนิยมของคนกินด้วยว่ากลิ่นที่ว่านี้จะถูกกันหรือไม่ แต่หากว่าแกงกับซุบหน่อไม้ไร้ซึ่งน้ำคั้นจากใบย่านางก็เห็นทีจะไม่เป็นซุบหรือแกงที่รสชาติแซบนัว (แปลว่าอร่อยแบบกลมกล่อม – ภาษาอีสาน) เพราะกลิ่นเปรี้ยวกลิ่นขื่นและรสขมของหน่อไม้ทีดองก่อนนำมาทำอาหาร
น้ำคั้นสีเขียวคล้ำหรือเกือบดำของใบย่านางคือเครื่องปรุงรสปรุงกลิ่นที่สามารถสยบกลิ่นเปรี้ยวของหน่อไม้ แต่ถึงแม้ใครต่อใครจะชอบอาหารอีสานอย่างซุบหน่อไม้ก็ใช่ว่าจะรู้จักใบย่านาง บางคนไม่ทราบว่าน้ำที่ปนมากับซุบหน่อไม้สีคล้ำ ๆ นั้นละคือน้ำใบย่านาง เพราะใบย่านางไม่ใช่พืชผักที่แพร่หลายมากนัก มักกินกันแต่ตามต่างจังหวัดบางที่บางแห่ง เมืองกรุงนั้นหารับประทานสดนั้นยากอยู่เหมือนกัน จึงควรทำความรู้จักกันไว้ เพราะย่านางคือตัวการที่ทำให้อาหารอร่อยแบบลึกลับเหมือนน้ำคั้นสีคล้ำที่แค่เพียงดูก็ไม่รู้เลยว่าจะทำให้อร่อยได้อย่างไร
นำพริกกะปิ
เครื่องตำ
กุ้งแห้ง
กะปิอย่างดี
พริกขี้หนูสวน
น้ำตาลปี๊บ
มะเขือพวง
มะนาว
กระเทียม
หอมแดง
ขั้นตอนการตำน้ำพริกกะปิ
บดหรือตำกุ้งแห้งให้ละเอียด จากนั้นตักขึ้นมาใส่ชามพักไว้
โขลกกระเทียมกับหอมแดงให้ละเอียด ตามด้วยพริกขี้หนูสวน และ มะเขือพวงพอประมาณโขลกพอหยาบ
ใส่กะปิ และน้ำตาลปี๊บ คลุกเคล้าให้เข้ากับข้อ 2
ใส่มะนาว และ น้ำต้มสุก พอประมาณ
นำกุ้งแห้งที่บดละเอียดจากข้อ 1 มาใส่และคลุกเคล้าให้เข้ากัน
ชิมรส ปรุงตามชอบใจ ถ้าชอบเผ็ดอาจใส่พริกขี้หนูเพิ่มได้
โรยด้วยเม็ดมะเขือพวงที่ไม่บุบ ให้สวยงาม
กุ้งแห้ง
กะปิอย่างดี
พริกขี้หนูสวน
น้ำตาลปี๊บ
มะเขือพวง
มะนาว
กระเทียม
หอมแดง
ขั้นตอนการตำน้ำพริกกะปิ
บดหรือตำกุ้งแห้งให้ละเอียด จากนั้นตักขึ้นมาใส่ชามพักไว้
โขลกกระเทียมกับหอมแดงให้ละเอียด ตามด้วยพริกขี้หนูสวน และ มะเขือพวงพอประมาณโขลกพอหยาบ
ใส่กะปิ และน้ำตาลปี๊บ คลุกเคล้าให้เข้ากับข้อ 2
ใส่มะนาว และ น้ำต้มสุก พอประมาณ
นำกุ้งแห้งที่บดละเอียดจากข้อ 1 มาใส่และคลุกเคล้าให้เข้ากัน
ชิมรส ปรุงตามชอบใจ ถ้าชอบเผ็ดอาจใส่พริกขี้หนูเพิ่มได้
โรยด้วยเม็ดมะเขือพวงที่ไม่บุบ ให้สวยงาม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)